ปรับปรุงล่าสุด 17 ต.ค. 2023 08:00:39 2,692

ด้านกายภาพ

  • ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือตำบล

ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลโนนก่อ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านแก่งศรีโคตร ตำบลโนนก่อ อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นตำบลหนึ่งในจำนวน 5 ตำบลของอำเภอสิรินธร ห่างจากที่ตั้งที่ว่าการอำเภอสิรินธร  ประมาณ  33  กิโลเมตรก่อ มีเนื้อที่ประมาณ 383.05  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 239,406.25 ไร่

    • ทิศเหนือ             มีพื้นที่ติดต่อกับ    ตำบลช่องเม็ก
    • ทิศใต้                 มีพื้นที่ติดต่อกับ  ตำบลคอแลน  อำเภอบุณฑริก
    • ทิศตะวันออก       มีพื้นที่ติดต่อกับ  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
    • ทิศตะวันตก         มีพื้นที่ติดต่อกับ  เขื่อนสิรินธร
  • ลักษณะภูมิประเทศ

เป็นป่าต้นน้ำลำธารพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวนซึ่งส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ พื้นที่ส่วนใหญ่ ทำการเกษตรกรรม เช่น สวนยางพารา ทำไร่มันสำปะหลัง สวนปาล์ม ทำนา เลี้ยงสัตว์ ทำไร่

  • ลักษณะภูมิอากาศ

มี 3 ฤดู ได้แก่

    1. ฤดูร้อน
    2. ฤดูฝน
    3. ฤดูหนาว
  • ลักษณะของดิน   ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินทราย ดินเหนียว พื้นที่เหมาะแก่การ สวนยางพารา ทำไร่ ทำนาบางส่วน
  • ลักษณะของแหล่งน้ำ  มีแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น (เขื่อนสิรินธร)
  • ลักษณะของไม้และป่าไม้     ในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวนซึ่งส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ เสื่อมโทรมบางส่วน

การศึกษา

โรงเรียนประถมศึกษา 9 แห่ง ได้แก่

  1. โรงเรียนบ้านบากชุม                  จำนวนนักเรียน 126 คน
  2. โรงเรียนบ้านแหลมทอง             จำนวนนักเรียน 107 คน
  3. ​โรงเรียนบ้านแก่งศรีโคตร           จำนวนนักเรียน 137 คน
  4. โรงเรียนบ้านโนนก่อ                  จำนวนนักเรียน 251 คน
  5. โรงเรียนบ้านเหล่าคำ                 จำนวนนักเรียน 100 คน
  6. โรงเรียนบ้านป่าเลา                   จำนวนนักเรียน 104 คน
  7. โรงเรียนบ้านห้วยเดื่อ                จำนวนนักเรียน 131 คน
  8. โรงเรียนบ้านพลาญชัย              จำนวนนักเรียน 170 คน

(อนุบาล – ประถมศึกษาปีที่ 6)

(ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2559)

​ โรงเรียนมัธยมศึกษา(ขยายโอกาส) 2 แห่ง ได้แก่

  1. โรงเรียนพลาญชัย จำนวนนักเรียน 55 คน
  2. โรงเรียนโนนก่อ จำนวนนักเรียน 80 คน

(มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3)

​ ศูนย์การเรียนรู้ 2 แห่ง ได้แก่

  1. ศูนย์การเรียนรู้นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หมู่ 3
  2. ศูนย์การเรียนรู้ตำรวจตระเวนชายแดนชุมชนบ้านป่าหญ้าคา หมู่ที่ 10

​ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน 7 แห่ง ได้แก่

  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบากชุม จำนวนนักเรียน 42 คน
  2. ​ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแก่งศรีโคตร จำนวนนักเรียน 32 คน
  3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนก่อ จำนวนนักเรียน 45 คน
  4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเหล่าคำ จำนวนนักเรียน 44 คน
  5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าเลา จำนวนนักเรียน 26 คน
  6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านภูไทพัฒนา จำนวนนักเรียน 29 คน
  7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพลาญชัย จำนวนนักเรียน 48 คน

(ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2559)

สาธารณสุข       ​ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านแก่งศรีโคตร จำนวน 1 แห่ง

อาชญากรรม     

ยาเสพติด          

  • การคมนาคมขนส่ง

การคมนาคม มีทางหลวงแผ่นดินผ่าน จำนวน ๒  สาย คือ สายพลาญชัย บุณฑริก  – เดชอุดม และสายพลาญชัย – ช่องเม็ก – พิบูลมังสาหาร  สำหรับภายในหมู่บ้านตำบล จะเป็นถนนคอนกรีต บางส่วนและถนนลูกรังเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านต่างๆก ารสัญจรไป – มา ในฤดูฝนได้รับความเดือดร้อนบางส่วน

      จำนวนถนนลูกรัง 29    สาย
      จำนวนถนนลาดยาง 3    สาย
      จำนวนถนนคอนกรีต 30    สาย
      จำนวนถนนอื่นๆ 1    สาย

 

  • การไฟฟ้า

 

      จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้                 3,294     ครัวเรือน
      จำนวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้                   187     ครัวเรือน
  • การประปา
      จำนวนครัวเรือนมีน้ำประปาใช้             2,063     ครัวเรือน
      จำนวนครัวเรือนที่ไม่มีน้ำประปาใช้            1,498     ครัวเรือน
  • โทรศัพท์              ไม่มีโทรศัพท์สาธารณะให้บริการ เพราะปัจจุบันทุกหมู่บ้านใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นส่วนใหญ่
  • ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง วัสดุครุภัณฑ์            ที่ทำการไปรษณีย์ที่ใกล้ที่สุด ได้แก่ ที่ทำการไปรษณีย์ช่องเม็ก

ระบบเศรษฐกิจ

  • การเกษตร

ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 90 ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรมได้แก่ ทำสวนยางพารา  ไร่มันสำปะหลัง สวนปาล์ม สวนลำไย ทำนา ที่เหลือประกอบอาชีพส่วนตัวและรับจ้าง

  • การประมง

  • การปศุสัตว์

  • การบริการ

มีร้านบริการทำผม เสริมสวย พื้นที่ หมู่ที่ ๓  หมู่ที่ ๕  หมู่ที่ ๑๐

    • มีโรงแรมในพื้นที่                                     จำนวน               1      แห่ง
    • มีโรงสีข้าวขนาดเล็กในพื้นที่                     จำนวน               10    แห่ง
    • มีร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง                        จำนวน               4      แห่ง
    • มีร้านจำหน่ายวัสดุทางการเกษตร               จำนวน               5      แห่ง

          การท่องเที่ยว

          อุตสาหกรรม

          การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

    1. กลุ่มศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนตำบล
    2. กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน (เงินล้าน)
    3. กลุ่ม SML หมู่บ้าน
    4. กลุ่มฌาปณกิจ
    5. เครือข่ายกลุ่มสตรีทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติบ้านแหลมทอง หมู่ที่ 2
    6. กลุ่มอาชีพจัดทำไม้กวาด บ้านแก่งศรีโคตร   หมู่ 3
    7. กลุ่มอาชีพดอกไม้ประดิษฐ์  บ้านห้วยเดื่อ  หมู่ 7
    8. กลุ่มอาชีพผลิตภัณฑ์จากตอไม้ รากไม้ บ้านห้วยเดื่อ  หมู่ 7 , บ้านบากชุม หมู่ 1
    9. กลุ่มอาชีพจัดทำการบูร บ้านเกตุสิริ หมู่  8
    10. กลุ่มอาชีพทำปลาร้า บ้านโนนสมบูรณ์ หมู่ 11

          แรงงาน

ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 90 ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรมได้แก่ ทำสวนยางพารา ไร่มันสำปะหลัง สวนปาล์ม สวนลำไย ทำนา ที่เหลือประกอบอาชีพส่วนตัวและรับจ้าง

  • ข้อมูลด้านการเกษตร

ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๙0 ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรมได้แก่ ทำสวนยางพารา  ไร่มันสำปะหลัง สวนปาล์ม สวนลำไย ทำนา ที่เหลือประกอบอาชีพส่วนตัวและรับจ้าง

  • ข้อมูลด้านแหล่งน้ำการเกษตร

แหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น (เขื่อนสิรินธร)

  • ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)

มีระบบประปาหมู่บ้าน ทั้ง  ๑๔   หมู่บ้าน

ทรัพยากรธรรมชาติ

แหล่งน้ำ

  •                  ห้วย หนอง คลอง บึง             40            แห่ง/สาย
  •                  คลองชลประทาน                   3              สาย
  •                  บ่อบาดาลสาธารณะ               38            สาย
  •                  บ่อน้ำตื้นสาธารณะ                20            แห่ง

ป่าไม้
ในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวนซึ่งส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณและเสื่อมโทรมบางส่วน

ภูเขา

พื้นที่ๆเป็นภูเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรักต่อเนื่องกันเข้าไปในเขตพื้นที่ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ

ในพื้นที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ คือ ผืนป่ายังคงอุดมสมบูรณ์